การอ่านค่าความต้านทานแบบ แถบสี
ตัวความต้านทานตัวความต้านทาน คือรีซีสเตอร์ (Resistor) หรือ “อาร์” (R) ซึ่งจะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้กันมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อย่างเช่น วงจรขยายเสียง, วงจรวิทยุ, วงจรเครื่องรับโทรทัศน์ และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ
3. แบบ 6 แถบสี
ความต้านทานแบบ 6 สี จะอ่านค่า 5 แถบสีแรกแบบความต้านทาน 5 แถบสี ส่วนสีที่ 6 คือค่า Temperrature Coefdicient (CT) หรือสัมประสิทธ์ทางอุณหภูมิ มีหน่วยเป็น ppm (part per million : ส่วนในล้านส่วน) เป็นค่าแสดงลักษณะการเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทาน เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปแหล่งที่มา
การอ่านค่าความต้านทานบอกแถบสี.[online].เข้าถึงได้จาก:http://www.elecnet.chandra.ac.th/learn/courses/ELTC1203/resistor/colorcoderesistor.htm
การอ่านค่าตัวต้านทานแบบแถบสี.[online].เข้าถึงได้จาก:http://www.basiclite.com/web/index.php?topic=62.0
ตัวความต้านทานตัวความต้านทาน คือรีซีสเตอร์ (Resistor) หรือ “อาร์” (R) ซึ่งจะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้กันมากในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อย่างเช่น วงจรขยายเสียง, วงจรวิทยุ, วงจรเครื่องรับโทรทัศน์ และอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าอื่น ๆ
3. แบบ 6 แถบสี
ความต้านทานแบบ 6 สี จะอ่านค่า 5 แถบสีแรกแบบความต้านทาน 5 แถบสี ส่วนสีที่ 6 คือค่า Temperrature Coefdicient (CT) หรือสัมประสิทธ์ทางอุณหภูมิ มีหน่วยเป็น ppm (part per million : ส่วนในล้านส่วน) เป็นค่าแสดงลักษณะการเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทาน เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไปแหล่งที่มา
การอ่านค่าความต้านทานบอกแถบสี.[online].เข้าถึงได้จาก:http://www.elecnet.chandra.ac.th/learn/courses/ELTC1203/resistor/colorcoderesistor.htm
การอ่านค่าตัวต้านทานแบบแถบสี.[online].เข้าถึงได้จาก:http://www.basiclite.com/web/index.php?topic=62.0